Research

การ์ทเนอร์ชี้ 5 เทรนด์สำคัญ กำหนดอนาคต Data Science และ Machine Learning

กรุงเทพฯ ประเทศไทย4 สิงหาคม 2566 – การ์ทเนอร์เผยแนวโน้มสำคัญที่ส่งผลต่ออนาคตของวิทยาศาสตร์ข้อมูลและแมชชีนเลิร์นนิ่ง (Data Science and Machine Learning หรือ DSML) ซึ่งเป็นผลมาจากวิวัฒนาการและการเติบโตของภาคอุตสาหกรรมอย่างรวดเร็ว เพื่อตอบสนองต่อการเพิ่มขึ้นอย่างมีนัยของข้อมูลในปัญญาประดิษฐ์ (AI) โดยเฉพาะอย่างยิ่งเมื่อธุรกิจโฟกัสการลงทุน Generative AI

Read More »

IDTechEx คาดการณ์ตลาดไฮโดรเจนคาร์บอนต่ำทั่วโลกจะสูงถึง 130 พันล้านเหรียญสหรัฐฯ ภายใน พ.ศ. 2576

ให้นึกภาพของเศรษฐกิจไฮโดรเจนในอนาคตที่มีโครงสร้างพื้นฐานด้านพลังงานที่ใช้ประโยชน์จากไฮโดรเจนคาร์บอนต่ำ ซึ่งมีความสำคัญต่อการลดคาร์บอนในภาคอุตสาหกรรม และการขนส่งระยะไกล ขณะเดียวกันยังตอบสนองความต้องการใช้พลังงานคาร์บอนต่ำที่เพิ่มขึ้นได้ แม้ว่าการเปลี่ยนแปลงนี้จะไม่เกิดขึ้นอย่างรวดเร็ว แต่โอกาสในการพัฒนาโครงสร้างพื้นฐานไปตลอดทั้งห่วงโซ่คุณค่าไฮโดรเจนนั้นอยู่ในระดับที่มีนัยสำคัญ

Read More »

โลกที่ไร้ขอบเขต: พื้นฐานใหม่ของต้นทุนมนุษย์

โลกของการทำงานเปลี่ยนไปอย่างหน้ามือเป็นหลังมือ นับตั้งแต่การทำงานทางไกลช่วงโรคระบาดไปจนถึง ‘การลาออกครั้งใหญ่’ และ ‘การลาออกอย่างเงียบ ๆ’ บริบทสังคมที่เปลี่ยนไปและการหยุดชะงักที่เกิดขึ้นโดยไม่ทันตั้งตัว ทำให้เราต้องเปลี่ยนมุมมองในการจ้างงานแบบเดิม ๆ ที่ซ้ำซากให้ยืดหยุ่นและคล่องตัวคล่องตัวมากขึ้น จากข้อมูลของกรมการจัดหางาน พบว่า ผู้ที่มาลงทะเบียนคนว่างงานส่วนใหญ่ให้เหตุผลว่าลาออกมากกว่าโดนให้ออกหรือหมดสัญญาจ้างงาน[1]

Read More »

ออมเดียเผยตลาดต้องการ LCD TV ขนาดหน้าจอเฉลี่ยใหญ่กว่า 50 นิ้วเป็นครั้งแรก บ่งชี้เทรนด์ทีวีจอใหญ่แรงต่อเนื่อง

ผลวิจัยใหม่จากรายงานติดตามตลาดจอแสดงผลขนาดใหญ่ (Large Area Display Market Tracker) ของออมเดีย (Omdia) เผยให้เห็นว่า ขนาดของหน้าจอโทรทัศน์แบบ LCD ที่มีการจัดส่งในเดือนพฤษภาคม 2566 นั้นมีขนาดเฉลี่ยใหญ่กว่า 50 นิ้วเป็นครั้งแรก ซึ่งเน้นย้ำให้เห็นถึงแนวโน้มที่ไม่เปลี่ยนแปลงสำหรับทีวีจอใหญ่ และเป็นสัญญาณบวกสำหรับอุตสาหกรรมการผลิตจอแสดงผลในการประเมินขีดความสามารถในแง่ของขนาด

Read More »

เหตุผล 3 ประการที่ธุรกิจจำเป็นต้องเปลี่ยนมาใช้พลังงานหมุนเวียน ณ เวลานี้

โดยคุณนาโอยะ อิชิยานางิ กรรมการผู้จัดการ บริษัท ชิเซ็น อินเตอร์เนชั่นแนล (ประเทศไทย)

Read More »

การแปรรูปดิจิทัลและความเป็นส่วนตัวของข้อมูล มีความสำคัญต่อผู้ผลิตสินค้าคงทนในการรักษาความสามารถในการแข่งขัน

อุตสาหกรรมการผลิตสินค้าคงทน (durable goods) กำลังเผชิญกับการเปลี่ยนแปลงครั้งใหญ่ด้วยปัจจัยหลายประการ ปัจจัยเหล่านี้รวมถึงการนำเทคโนโลยี Industry 4.0 มาใช้, ระดับผู้บริโภคเพิ่มสูงขึ้น, ข้อมูลประชากรเปลี่ยนแปลง และกฎระเบียบที่เข้มงวดขึ้น ดังนั้น เพื่อรักษาความสามารถในการแข่งขัน ผู้ผลิตต้องยอมรับการแปรรูปทางดิจิทัล

Read More »

3 ประเภทหลักของปัญญาประดิษฐ์ AI ที่นำไปใช้งานจริงในภาคธุรกิจ และอุตสาหกรรมต่างๆ

งานวิจัยโดย statista สรุปเรียบเรียงโดยทีมงาน FactoryTalkThai สำหรับหัวข้อ “3 ประเภทหลักของปัญญาประดิษฐ์ AI ที่นำไปใช้งานจริงในภาคธุรกิจ และอุตสาหกรรมต่างๆ” เกี่ยวกับวิธีใช้ประโยชน์จากศักยภาพของ AI ในแนวทางที่นำไปใช้ได้จริง ปัญญาประดิษฐ์ AI โดยพื้นฐานแล้วหมายถึงเทคโนโลยีคอมพิวเตอร์ที่ได้รับแรงบันดาลใจจากวิธีที่มนุษย์ใช้สมองและระบบประสาทในการให้เหตุผลและตัดสินใจ ซึ่งมีการทำงานที่แตกต่างกันมากในเชิงปฏิบัติสำหรับการนำไปใช้งานในอุตสาหกรรมต่างๆ

Read More »

ผลสำรวจจากการ์ทเนอร์เผยผู้บริหารระดับซีอีโอระบุว่า AI คือเทคโนโลยีที่สร้างผลกระทบสูงสุดต่อภาคอุตสาหกรรมต่าง ๆ

กรุงเทพฯ ประเทศไทย 13 กรกฎาคม 2566 – การ์ทเนอร์เผยผลสำรวจของซีอีโอและผู้บริหารระดับสูง พบว่า 21% ระบุว่าปัญญาประดิษฐ์ (Artificial Intelligence หรือ AI) เป็นเทคโนโลยีสำคัญที่สุดและเชื่อว่าจะส่งผลกระทบอย่างมากต่ออุตสาหกรรมไปในอีก 3 ปีข้างหน้านี้

Read More »

จับประเด็นสำคัญที่จะสนับสนุนตลาด EV ที่กำลังเฟื่องฟู

ในช่วงไม่กี่ปีที่ผ่านมา อุตสาหกรรมยานยนต์ไฟฟ้า (EV) ทั่วโลกได้เติบโตขึ้นอย่างมาก โดยมียอดขายยานยนต์ไฟฟ้าทั่วโลกเพิ่มขึ้นจากประมาณ 3.1 ล้านคันในปี พ.ศ. 2563 มาเป็นมากกว่า 9 ล้านคันในปี 2565 ซึ่ง IDTechEx ได้คาดการณ์ยอดขายยานยนต์ไฟฟ้าจะมีมากกว่า 12 ล้านคันในปี 2566 และเติบโตแบบทวีคูณในปีต่อๆ ไป โดยจะมียอดขายยานยนต์ไฟฟ้ามากถึง 20 ล้านคันในปี 2568 ขณะที่ยานยนต์ EV เชิงพาณิชย์มีจำนวนเพิ่มขึ้นกว่าเท่าตัวในปี 2564

Read More »

Paessler เผยรายงาน แนวปฏิบัติด้านความยั่งยืนและการทำดิจิทัลทรานส์ฟอร์เมชั่นของธุรกิจที่เดินไปคนละทาง

กรุงเทพฯ, 27 มิถุนายน 2566 –แนวปฏิบัติด้านความยั่งยืนและการทำดิจิทัลทรานส์ฟอร์เมชั่นขององค์กรต่างๆ ในไทยมีเส้นทางที่แยกกันอย่างชัดเจน โดยรายงานล่าสุดจาก Paessler ผู้เชี่ยวชาญด้านการมอนิเตอร์โครงสร้างและเครือข่ายระบบ IT ในหัวข้อ “ทิศทางที่ต้องจับตา: การมอนิเตอร์ระบบ คือ เส้นทางสู่ระบบ IT ที่ยั่งยืน” ได้จัดทำขึ้นเพื่อเปิดเผยสถานการณ์ปัจจุบันของแนวปฏิบัติด้านความยั่งยืนในธุรกิจต่างๆ โดยเจาะลึกลงไปถึงปัจจัยขับเคลื่อนและอุปสรรคต่อการดำเนินแผนด้าน IT ที่ยั่งยืน ข้อมูลในรายงานระบุว่า ปัญหาการขาดความรู้เชิงเทคนิคในการดำเนินแผนงาน (58%) การขาดความชัดเจนจากหน่วยงานภาครัฐในเรื่องมาตรฐานการรายงานผล (45%) ต้นทุนการดำเนินแผนงาน (48%) และปัญหาการบริหารตัวชี้วัดด้านสิ่งแวดล้อม สังคม และธรรมาภิบาล (ESG) ให้สอดคล้องกับเป้าหมายการเติบโต (40%) ทั้งหมดถือเป็นอุปสรรคสำคัญต่อการเดินหน้าตามแนวปฏิบัติด้านความยั่งยืนในไทย

Read More »